วันพฤหัสบดีที่ 16 มกราคม พ.ศ. 2557



ติดต่อ ทาง line : tom.pornprasert
โทรศัพท์ 080-422-4466

วันศุกร์ที่ 10 มกราคม พ.ศ. 2557


อุปกรณ์ประกอบด้วย
1. touch screen easy veiw 
2.FX2N-232BD
3.FX2N-128MR

รูปแบบ diagram
 1.ทำการ wiring
















































2.เราทำการตั้งค่า parameter ของ PLC กันก่อนโดยไปที่ Parameter > PLC system(2) ตั้งค่าตามรูป ทำการ write parameter ลง PLC แล้ว ปิด - เปิด PLC ใหม่อีกครั้ง

3.ตั้งค่า HMI 



เป็นอันเสร็จการเชื่อมต่อกัน อิอิอิ ขอแถมด้านล่าง










วันพฤหัสบดีที่ 9 มกราคม พ.ศ. 2557

รับออกแบบระบบควบคุมอัตโนมัติต่างๆ
- โปรแกรมและวงจรด้านไมโครคอนโทรลเลอร์
- โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ฐานข้อมูลต่างๆ สำหรับเชื่อมต่อกับไมโครคอนโทรลเลอร์
- ผลิตเครื่องจักร, หุ่นยนต์, บอร์ดแสดงผลสำหรับอำนวยความสะดวกในสายการผลิต
- ผลิตและจัดจำหน่ายอุปกรณ์ด้านไมโครคอนโทรลเลอร์
- และอื่นๆ ที่เกียวกับระบบ อิเล็กทรอนิกส์ ไฟฟ้า และคอมพิวเตอร์


Design of the automatic control system.
- Program and circuit of the Microcontroller.
- Program Computer, Database to connect microcontroller.
- Design machine, Robot, display board for the production line.
- Design other about the system of the Electronic, Electrical and Computer.

ติดต่อ 080-422-4466

วันพุธที่ 8 มกราคม พ.ศ. 2557

เป็นฟังก์ชันที่ move ข้อมูล เป็นชุดข้อมูล


เมื่อ X0 และ X1= On จะ move ข้อมูลตามรูปนี้ 

ตัวอย่าง 

ใส่ข้อมูล d5 = 5 ,d6 = 6 ,d7 = 7


ผลลัพธ์



ใส่ข้อมูล d20 = 20 ,d21 = 21 ,d22 =22 ,d23 = 23


ผลลัพธ์

สรุป BMOV ใช้สำหรับ Move ข้อมูล เป็นชุดข้อมูล

วันอังคารที่ 7 มกราคม พ.ศ. 2557

1. design วงจรตามรูป

2. list อุปกรณ์ที่ต้องใช้

Product Part No No Price/unit Price(Bath)
Max232cpe+ 1 34.5 34.5
MINI DIN PLUG 8-PINS 1 20.33 20.33
DB-9 1 6.45 6.45
 D-SUB COVER PLASTIC 1 6.26 6.26
MULTICORE SHIELD CABLE 24AWG 6 WAYS 4 27 108
Capacitor 1uF 50 V 4 0.44 1.76
R 500 Ohm 1 0.15 0.15
สั่งทำแผ่น PCB 1 142 142
กล่องวงจร 1 25 25
รวม 344.45


3.ทำแผ่นปริ้นตามที่เรา design ไว้

4.บัดกี้อุปกรณ์และสายสัญญาณ(ผมทดลองด้วยบอร์ดไข่ปลาครับบ)


5.คู่มือการ wiring 


สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ ยินดีให้คำปรึกษาครับ
080-422-4466



วันจันทร์ที่ 6 มกราคม พ.ศ. 2557

 
คำสั่ง FROM เป็น Fucntion สำหรับอ่านข้อมูลจาก buffer memories ของ special fuction blocks เช่น Module FX2N-4AD














m1 คือ Slot No. 
m2 คือ ตำแหน่ง Memory ใน Analog Module 
D   คือ ตำแหน่ง Memory ใน CPU สำหรับเก็บข้อมูล
n    คือ จำนวนข้อมูลที่อ่าน

จากตัวอย่าง 
m1 = 2 แสดงว่าอยู่ Slot 2  การนับจำนวน Slot ดูตามรูปด้านล่าง 
m2 = K10 คือตำแหน่ง buffer memory ที่ตำแหน่ง 10  ใน Analog Module
D = D10  คือตำแหน่ง memory D10 ใน CPU สำหรับเก็บข้อมูล
n = K6 คือจำนวนของข้อมูลที่อ่านเท่ากับ 6

คำสั่ง TO เป็น Fucntion สำหรับอ่านข้อมูลจาก buffer memories ของ special fuction blocks เช่น Module FX2N-4AD










m1 คือ Slot No. 
m2 คือ ตำแหน่ง Memory ใน Analog Module 
S   คือ ตำแหน่ง Memory ใน CPU สำหรับส่งข้อมูล
n    คือ จำนวนข้อมูลที่อ่าน

วันเสาร์ที่ 4 มกราคม พ.ศ. 2557




FX2N-4AD เป็น Module แปลงสัญญาณ Analog เป็น Digital จำนวน 4 ช่องสัญญาณ มีความละเอียดระดับ 12 bit หรือ 4026 รองรับสัญญาณมาตรฐาน 4-20mA ,-10 V ถึง 10 V และ -20mA ถึง 20mA



การ wiring สัญญาณ



แสดงรายละเอียด Dimension ด้านนอกของ Module

Analog Inputs continued... Preset0 (-10V to +10V) แกน y digital ouput อยู่ในช่วง -2,000 ถึง +2000 เป็นค่าดิบที่ PLC อ่านได้ เทียบกับแกน x Voltage input -10 V ถึง +10 V (รับมาจากอุปกรณ์  Sensor เช่น Presure) แต่จะสั่งเกตช่วงเที่เกิน +-10 นั่นคือ-10.240Vถึง +10.235V ค่าที่อ่านได้จะเป็นสูงจริงจะเป็น -2048 ถึง +2047 ส่วน Preset 1 และ 2 ใช้หลักการเดียวกัน         

เป็น Buffer memories ในตัว Module สำหรับให้ PLC เรียกใช้งาน

รูปแสดงการตั้งค่า chanel ของ Module 

รูปแสดงสถานะของ Module


ตัวอย่างโปรแกรม

Datasheet
https://dl.dropboxusercontent.com/u/13758529/automation999/FX2N-4AD%20User's%20Guide.pdf

Program Exam
https://dl.dropboxusercontent.com/u/13758529/automation999/FX2N-4AD%20Program.7z

วันศุกร์ที่ 3 มกราคม พ.ศ. 2557

               ฟังก์ชัน MOVE : MOV (PLC Mitsubishi) คำสั่งประยุกต์ประเภทนี้เป็นคำสั่งที่ทำหน้าที่ในการนำข้อมูลย้ายเข้าไปจัดเก็บ ณ จุดที่ต้องการ การใช้คำสั่งประยุกต์ MOV ที่ใช้ในการเคลื่อนย้ายข้อมูลทำได้โดยการใช้คำสั่ง [MOV (S) (D)] โดยค่า S จะเป็นค่าของข้อมูลเชิงตัวเลขฐานใดๆ ของอุปกรณ์ต้นทาง ค่า D เป็นจุดที่เคลื่อนย้ายข้อมูลเชิงตัวซึ่งเป็นอุปกรณ์ปลายทางเพื่อที่จะนำค่าไปใช้ในการสั่งงานอุปกรณ์ให้ทำงานตามจำนวนเชิงตัวเลยที่นำมาเก็บไว้ต่อไป
ตัวอย่างการใช้คำสั่งประยุกต์ MOVE
   

           








ตัวอย่างการเขียนภาษา Instruction List คำสั่งประยุกต์ MOVE : MOV



                   จากตัวอย่างเมื่อหน้าสัมผัสอินพุด M0 ทำงาน คำสังประยุกต์ MOV จะเคลื่อนย้ายข้อมูล (S) ที่มีค่าเท่ากับ (H0050) ไปจัดเก็บในอุปกรณ์ปลายทาง (D) อุปกรณ์เก็บค่าเชิงตัวเลข (Data Register,D01) ซึ่งมีค่าเท่ากับ S อุปกรณ์ต้นทาง เมื่อหน้าสัมผัสอินพุต M1 ทำงานจะสั่งงานให้อุปกรร์หน่วงเวลา (T01) ทำงานด้วยจำนวนเวลาเท่ากับค่าที่อยู่ในอุปกรร์เก็บค่าเชิงตัวเลข (D01) จนครบจำนวน หน้าสัมผัสอุปกรณ์หน่วงเวลาจะสั่งงานให้คอยล์เอาต์พุต Y001 ทำงาน
                   คำสั่งประยุกต์ MOVE สัญลักษณ์ที่ใช้ในภาษา IL สำหรับแบบ 16 บิต MOVE คือ MOV และ MOVE pulse คือ MOVP มีโปรแกรม Steps เท่ากับ 5 ส่วน 32 บิต  Double MOVE คือ DMOV และ Double Move Pulse คือ DMOVP มีโปรแกรม Step เท่ากับ 9




วันอังคารที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556

รับปรึกษาและออกแบบโครงงานทางด้าน ,(ไฟฟ้ากำลัง,ไฟฟ้าอิเล็กทรอนิกส์,Power electronic,ไฟฟ้าสื่อสาร , ไฟฟ้าคอมพิวเตอร์, และงานออกแบบทุกชนิด(งานเครื่องกล)) สำหรับโรงงาน บริษัท นักศึกษาและบุคลทั่วไป โดยมีรายละเอียดดังนี้ 
- เขียนโปรแกรม Microcontroller ตระกูล MCS51 PIC dsPIC AVR ARM ด้วยภาษา C และPLC เพื่อควบคุมระบบต่าง ๆ ตามความต้องการของลูกค้า 

- ออกแบบวงจรตามความต้องการของลูกค้าโดยอาศัยการทำงานของระบบนั้น ๆ เช่น

- A/D or D/A
- Signal condition and signal processing
- Current, voltage, temperature, pressure and other Parameter monitoring
- FET and IGBT Power control อินเวอร์เตอร์ คอนเวอร์เตอร์ ทุกชนิด
- MCS51 Microcontroller for management system
-RS232 RS485

- ออกแบบ Print circuit board (PCB) จากวงจรโดยใช้ Program Protel99SE , Program Protel DXP , Altium Designer 6

- ออกแบบหรือคัดลอกชิ้นงานจากชิ้นงานต้นแบบ เช่น ในกรณีที่ต้องการเก็บสำรองหรือทางโรงงานผู้
ผลิตเลิกผลิต Board รุ่นนั้นแล้ว

- เขียนโปรแกรม Visual basic,delphi7 เพื่อควบคุมระบบต่าง ๆ ตามความต้องการของลูกค้า
Electronics Design Service (EDS)
:รับงาน ออกแบบ วงจร ด้าน Microcontroller และ Project นักศึกษา งาน Service

-ทำทั้งโปรเจคเล็กๆ จนถึงใหญ่
-ทำแค่ชิ้นเดียวหรือหลายชิ้น
-ให้คำปรึกษาฟรีครับ
-ท่านใดที่ต้องการทำโปรเจค แต่ยังไม่รู้จะทำอะไร ยินดีให้คำปรึกษาและแนะนำครับ

วันศุกร์ที่ 27 ธันวาคม พ.ศ. 2556


เป็นขั้นตอนการดึงข้อมูลโปรแกรมที่อยู่ใน PLC Mitsubishi ออกมเพื่ออ่าน
เริ่มต้นไปที่ Online > Read from PLC . . .
 จากนั้นเลือก PLC Series กด OK

ตรวจสอบการเชื่อมต่อระหว่างคอมพิวเตอร์กับ PLC ถ้า Successfuly แสดงว่าใช้ได้ ถ้าไม่ดูวิธีตาม


กดปุ่ม Param+Prog


กดปุ่ม Excute และ Yes ยืนยันการดึงข้อมูล

โหลดเสร็จแร้ว...

กดปุ่ม close

จะได้โปรแกรมตามรูป


วันพฤหัสบดีที่ 26 ธันวาคม พ.ศ. 2556

การเชื่อมต่อระหว่างคอมพิวเตอร์และ PLC

ไปที่ online > Transfer setup...

ไปที่ tab PC side I/F คลิกที่ icon Serial USB เลือก RS-232C และเลือก com port และ Transmission speed ให้ตรงกัน กดปุ่ม OK


เพิ่มเติม การดู comport  คลิกขาวที่ computer >Manage >Device Manager >Ports




กดปุ่ม Connection test เพื่อทดสอบการเชื่อมต่อระหว่างคอมพิวเตอร์กับPLC

ถ้าคอมพิวเตอร์สามารถติดต่อ PLC ได้ จะมีข้อความแจ้งเตือนดังรูปด้านล่าง


การเขียนโปรแกรมลง PLC 
ไปที่ Online>Write to PLC ...


คลิกปุ่ม Param+Prog 


กดปุ่ม Excute ตอบ Yes



ตอบ Yes เพื่อหยุด PLC ก่อนเขียนโปรแกรมลง PLC

รอ...โหลดเสร็จแล้วก็กด Yes เพื่อสั่งให้ PLC RUN

กดปุ่ม OK เป็นอันเสร็จพิธีการเขียนโปรแกรมลง PLC  


หวังว่าคงเป็นประโยชน์กับผู้ที่อ่าน ถ้าสงสัยอะไรสามารถถามได้นะครับ