วันศุกร์ที่ 27 ธันวาคม พ.ศ. 2556

เป็นขั้นตอนการดึงข้อมูลโปรแกรมที่อยู่ใน PLC Mitsubishi ออกมเพื่ออ่าน เริ่มต้นไปที่ Online > Read from PLC . . .  จากนั้นเลือก PLC Series กด OK ตรวจสอบการเชื่อมต่อระหว่างคอมพิวเตอร์กับ PLC ถ้า Successfuly แสดงว่าใช้ได้ ถ้าไม่ดูวิธีตาม http://automation999.blogspot.com/2013/12/plc-mitsubishi.html กดปุ่ม Param+Prog กดปุ่ม Excute และ Yes ยืนยันการดึงข้อมูล โหลดเสร็จแร้ว... กดปุ่ม...

วันพฤหัสบดีที่ 26 ธันวาคม พ.ศ. 2556

การเชื่อมต่อระหว่างคอมพิวเตอร์และ PLC ไปที่ online > Transfer setup... ไปที่ tab PC side I/F คลิกที่ icon Serial USB เลือก RS-232C และเลือก com port และ Transmission speed ให้ตรงกัน กดปุ่ม OK เพิ่มเติม การดู comport  คลิกขาวที่ computer >Manage >Device Manager >Ports กดปุ่ม Connection test เพื่อทดสอบการเชื่อมต่อระหว่างคอมพิวเตอร์กับPLC ถ้าคอมพิวเตอร์สามารถติดต่อ...

วันพุธที่ 25 ธันวาคม พ.ศ. 2556

วันนี้จะสอนการใช้งานโปรแกรม GX Developer เบื้องต้น มาเริ่มกันเลยครับ เมื่อติดตั้งโปรแกรม GX Developer เสร็จให้คลิก start>all program>MELSOFT Application>GX Developer ตามรูปด้านล่าง หน้าจอโปรแกรม GX Developer มี 4 ส่วน คือ Project data list Toolbar Status bar Program Mode Area  ดังรูปด้านล่าง มารู้จักส่วนแรก Project Data List เป็นส่วนที่ทำหน้าที่ในการแสดงรายละเอียดของโปรแกรม...

วันอังคารที่ 24 ธันวาคม พ.ศ. 2556

รับทำโปรเจค Microcontroller และงานอิเล็กทรอนิกส์  ทุกตระกูล รับเขียนโปรแกรม Microcontrolle  PIC AVR MCS ARM  STM32 รับเขียนโปรแกรม android ติดต่อ อุปกรณ์ภายนอก รับเขียนโปรแกรม Image Processing  Project ที่รับทำเช่น -Project เกี่ยวกับการควบคุมหุ่นยนต์ Control มอเตอร์ -ออกแบบวงจรที่ใช้ ไมโครคอนโทรเลอร์ทุกการใช้งาน -Display 7 Segment แสดงผลขนาดเล็ก ถึง ใหญ่ เช่น นาฬิกา,วัดความชื้นและอุณหภูมิ-เครื่องวัดอุณหภูมิ และการแสดงผลอื่นๆ -ชุดคอนโทรมอเตอร์ DC Motor ,Stepper...
               คำสั่งประยุกต์ประเภทนี้เป็นคำสั่งที่ทำหน้าที่ในการแปลงค่าตัวเลขของจุดทศนิยม ของข้อมูลเชิงตัวเลขในอุปกรณ์ต้นทางให้เป็นตัวเลข interger และเก็บผลลัพธ์ที่ได้ไว้ในอุปกรณ์ปลายทาง การใช้คำสั่งประยุกต์ INT ที่ใช้ในการแปลงค่าตัวเลขจุดทศนิยมให้เป็นตัวเลข Integer ทำได้โดยการใช้คำสั่ง [INT (S) (D)] โดยที่ S จะเป็นอุปกรณ์ต้นทาง หรือค่าคงที่เชิงตัวเลขที่แสดงค่าทางจุดทศนิยม...
การสื่อสารอนุกรม RS-485          RS-485 เป็นหนึ่งในมาตรฐานการสื่อสารแบบอนุกรม (Serial Communication) ที่ถูกกำหนดขึ้นมาโดยกลุ่มพันธมิตรอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ในประเทศสหรัฐอเมริกา (Electronic Industries Alliance (EIA)) เพื่อตอบสนองต่อความต้องการใช้งานที่ต้องการเชื่อมต่ออุปกรณ์หลายๆ ตัวบนข่ายสายเดียวกัน โดยมีระยะทางการสื่อสารที่ไกลขึ้น และมีความเร็วรับส่งข้อมูลที่สูงขึ้น...

วันศุกร์ที่ 20 ธันวาคม พ.ศ. 2556

ชื่อทางการ EIA-232E โดยพื้นฐานจะประกอบด้วยสายตัวนำ 3 เส้น ตัวนำหนึ่งทำหน้าที่ส่งสัญญาณ อีกตัวหนึ่งจะคอยรับสัญญาณ โดยจะใช้ Ground ร่วมกัน อุปกรณ์ DTE (Data Terminal Equipment) จะส่งข้อมูลทางขา 2 และรับข้อมูลทางขา 3 อุปกรณ์ DCE (Data Communications Equipment) จะส่งข้อมูลทางขา 3 และรับข้อมูลทางขา 2 สถานะ logic 1:-3V ถึง -25V สถานะ logic 0:+3V ถึง +25V     ข้อด้อยของ RS-232 รองรับเพียงการสื่อสารแบบ...

วันพฤหัสบดีที่ 19 ธันวาคม พ.ศ. 2556

...
รับทำโปรเจคอิเล็กทรอนิกส์             รับปรึกษา ออกแบบโปรเจคอิเล็กทรอนิกส์ วงจรอิเล็กทรอนิกส์ โปรเจคไฟฟ้า และงานอิเล็กทรอนิกส์ทุกชนิดสำหรับ โรงงาน บริษัท นักศึกษาและบุคลทั่วไป  รับทำโปรเจคอิเล็กทรอนิกส์ รับทำโปรเจค Microcontroller เช่น MCS-51, PIC, ARM7, AVR รับทำโปรเจคไฟฟ้า รับทำโปรเจค C รับเขียนโปรแกรม เช่น...

วันพุธที่ 18 ธันวาคม พ.ศ. 2556

PROFIBUS (Process Field Bus) PROFIBUS เป็นมาตรฐานแบบหนึ่งสำหรับการติดต่อแบบอนุกรมกับอุปกรณ์ต่างๆภายในโรงงาน ทำให้สามารถลดจำนวนสายลงแต่สามารถเพิ่มความเร็วในการสื่อสารข้อมูลได้มากขึ้น โดยได้ค่าที่ถูกต้องเที่ยงตรง PROFIBUS เป็นมาตรฐานระบบเปิดสำหรับการผลิตและควบคุมอัตโนมัติ ที่ไม่ถูกผูกมัดกับผู้ผลิตใดๆ PROFIBUS จะเป็นไปตามข้อกำหนดมาตรฐานระหว่างประเทศ(IEC61158,EN50170,50240)เพื่อให้อุปกรณ์ต่างๆที่ใช้มาตรฐานนี้สามารถติดต่อกัน และใช้งานร่วมกันได้อย่างสมบูรณ์ PROFIBUS-DP PROFIBUS-DP (Profibus Decentral...

วันอังคารที่ 17 ธันวาคม พ.ศ. 2556

จุดเด่นของการใช้งาน PLC PLC มีการเดินสายที่ไม่ยุ่งยากซับซ้อน สามารถปรับปรุงแก้ไขโปรแกรมตามเงื่อนไขการควบคุมระบบหรือเครื่องจักรได้ง่ายและรวดเร็ว การเขียนโปรแกรมควบคุมแบบแลดเดอร์มีส่วนคล้ายคลึงกับวงจร relay จึงทำให้เขียนได้ง่าย PLC มีความทนทานต่อสภาวะแวดล้อมในโรงงานอุตสาหกรรม การดูแลรักษาและการซ่อมบำรุงทำได้ง่าย สามารถลดเวลาในการหยุดเครื่องจักรลงได้ ประหยัดการใช้พื้นที่การทำงานของเครื่องจักรได้ และสามารถใช้งานในระบบการผลิตแบบยืดหยุ่น สามารถต่อขยายระบบจำนวนอินพุตและเอาต์พุตได้ง่าย รองรับการเชื่อมต่อแบบโครงข่าย สามารถใช้งานร่วมกับอุปกรณ์ต่างๆเช่น...

วันจันทร์ที่ 16 ธันวาคม พ.ศ. 2556

อุปกรณ์ Auxiliary Relay ใน PLC Mitsubishi Auxiliary Relay (M) FX-1S FX-1N FX-2N FX-2NC General M0~M383 M0~M383 M0~M499 M0~M499 Latched M384~M511 M384~M1535 M500~M3071 M500~M3071 Special M8000~M8255 M8000~M8255 M8000~M8255 M8000~M8255 ...
ทำความรู้จักกับ GX Works2 ALL IN ONE PACKAGE เป็นซอฟต์แวร์ใหม่ที่รวมทุกความสามารถสําหรับงาน PLC ไว้ในที่ เดียว มีการใช้งานแบบ GX Developer โดยผู้ที่เคยใช้ GX Developer แบบเดิมสามารถใช้แบบ Simple Project ได้ และยังมี GX Developer แบบเดิมมาให้ เลือกใช้เป็น GX Works2 แท้ๆแบบ Structured Project ได้ เพื่อการ โปรแกรมในรูป IEC61131-3 เช่น Structured ladder และ FBD language (Function Block Diagram) มี...
อุปกรณ์พื้นฐานใน PLC อุปกรณ์พื้นฐานใน PLC สัญลักษณ์ Symbol ตัวอย่างการใช้งาน Example Input X X0,X1,X14,X15 Output Y Y2,Y3,Y16 Relay(Aux) M M4,M13,M19 Timer T T0,T1,T27 Counter C C7,C8,C10 Data Register D D0,D10,D15 ...

วันเสาร์ที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2556

การต่อวงจรอินพุตจะมี 2 แบบ คือ sink type และ source type 1. sink type ต่อ +24v เข้า s/s เมื่อมีการ active switch  input จะมีการเชื่อมต่อกับ Ground หรือ 0v ตามรูป กระแสไหลออก PLC  2.source type ต่อ 0v เข้า s/s เมื่อมีการ active switch input จะมีการเชื่อต่อกับ +24v ตามรูป กระแสไหลเข้า PLC ...