วันเสาร์ที่ 16 มกราคม พ.ศ. 2559

Starting GX-Work2
หลังจากที่เราติดตั้งโปรแกรม GX-Work2 เรียบร้อยแล้ว ก็ทำการเริ่มเปิดใช้งานโปรแกรมกันเลย
เริ่มจากไปที่ Start >> All Programs >> Melsoft Application >> GX Work 2 >> GX Work2.exe ดังรูปด้านล่าง


หลังจากที่เราคลิก icon GX Works2 จะได้หน้าตาโปรแกรมที่เอาไว้เขียนโปรแกรมดังนี้


Screen configuration in GX Works2
Creating a new project

  • ไปที่เมนู Project คลิก New

  • เลือก Project Type: Structured Project ,PLC Series:FXCPU ,PLC Type :FX3U/FX3UC ,Language: Structured Ladder/FBD กด OK

  • หลังจากนั้นจะได้หน้าต่างดังรูปด้านล่างพร้อมที่จะทำให้ขั้นตอน Setting parameters ต่อไป



Setting parameters 
  • ดับเบิลคลิกที่ "Parameter" > "PLC Parameter" บน Project view to display 

  • จะได้หน้าต่างดังรูป เมื่อตั้งค่า Parameter เรียบให้ให้กดปุ่ม END ด้วยเพื่อปิดหน้าต่าง หน้าต่างนี้มีไว้ตั้ง Parameter เช่น Tab Device สามารถตั้งค่า Memory หรือแสดงได้ ตั้งค่า Protocal RS232 RS-485 เป็นต้น






การเขียนลักษณะ Structured Ladder/FBD 2 แบบดังนี้
ใน Structured Ladder
In the case of Structured Ladder
ใน FBD
In the case of FBD
Manual :SW1DNC-GXW2-E หัวข้อ 3.1.2 หน้า 30

Simple Project เราสามารถสร้างโปรแกรมเป็นแบบลักษณะ sequence ที่ใช้คำสั่งในการโปรแกรม PLC CPU ซึ่งจะเขียนเหมือนกับ GX Developer ซึ่งภาษาที่ใช้เขียนมีดังต่อไปนี้

  • Graphic languages
    • Ladder มีลักษณะคล้ายวงจรไฟฟ้า หรือวงจร relay เช่นสัญลักษณะ contacts ,coils เป็นต้น
http://share.psu.ac.th/system/assets/media/files/000/028/097/original_N2Gen_ladder.jpg?1306829047

    • SFC มีลักษณะการเขียนที่ทำให้ง่ายเช่นงานแบบ step หรือ การประมวลผลและเงื่อนไขการข้าม step
http://www.chinabaike.com/uploads/allimg/110522/1312035625-2.jpg

  • Text language
    • ST (Structured Text) เป็นภาษาที่ใช้ในงานที่มีเงื่อนไขการทำงานที่ซับซ้อน เพราะเป็นภาษาระดับสูงเช่น ภาษาซี 
http://www.fernhillsoftware.com/Images/IEC61131STExample.png

Structured Project เราสามารถที่จะสร้างโปรแกรมโดยเป็นแบบ  structured program โดยแบ่งการควบคุมเป็นส่วนย่อยๆ และการทำ fuction ที่สามารถใช้งานร่วมกันได้ ทำให้โปรแกรมเข้าใจได้ง่ายและประยุกต์ใช้งานได้หลากหลาย
  • Graphic languages
    •  Ladder
    • Structured Ladder/FBD เหมือนการนำ Ladder ที่มีลักษณะวงจรไฟฟ้า หรือวงจร relay กับ function blook มาใช้งานร่วมกัน ทำให้ง่ายต่อการเขียนโปรแกรม
http://www.thaiplc.com/webboard/index.php?topic=5694.0

    • SFC
  • Text language
    • ST (Structured Text)

Manual :SW1DNC-GXW2-E หัวข้อ 1.1 หน้า 20-21

วันพฤหัสบดีที่ 7 มกราคม พ.ศ. 2559

ต้องการตั้งเวลาเปิด-ปิดรดน้ำต้นไม้แบบอัตโนมัต เวลา 10.00น. - 10.59 น. และ 18.00น. - 18.59 น. เราจะใช้ RTC (Real Time Clock) ของ PLC ซึ่ง PLC ต้องเป็นรุ่นที่มี Battery Backup ด้วยนะ
ทำการศึกษาคู่มือว่าสามารถใช้ S.memory ไหนเป็นตัวเก็บข้อมูลเวลา วัน เดือน ปี
Real Time Clock PLC Mitsubishi FX Series(Programmable logic controllers Programing Manual 9.2)
จากโจทย์เราเลือกใช้ Device Number D8015(ชั่วโมง)


แบบโปรแกรมง่ายๆครับ สามารถนำไปประยุกต์ใช้งานได้นะครับผม


วันศุกร์ที่ 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2558

บอร์ดเล่นเพลง mp3 ที่ใช้ชิป VS1053 นี้ค่อยข้างใช้งานได้ง่าย เนื่องจากมีผู้พัฒนา library ให้เรียบร้อยแล้ว การใช้งานนี้ไม่สอนหลักการอะไรมากนะครับ แค่ใช้งานมันได้ก็พอแล้วครับ
หลัก ๆ คำสั่งที่ใช้งานก็จะ เช่น
MP3player.isPlaying()        //  ดูว่าเพลงกำลังเล่นอยู่ไหม
MP3player.setMonoMode(1);    //  1=EnableMono, 0=DisableMono
MP3player.stopTrack();       //  หยุดเล่น
MP3player.pauseMusic();      //  หยุด
MP3player.resumeMusic();     //  เล่นต่อ
MP3player.resumeMusic(2000); //
MP3player.playTrack(ลำดับเพลง);//เล่นเพลง
มีอีกเยอะนะครับ ศึกษาเพิ่มเติมได้ที่
http://mpflaga.github.io/Sparkfun-MP3-Player-Shield-Arduino-Library/class_s_f_e_m_p3_shield.html


ตัวบอร์ดรองรับ 

Features

  • Can play a variety of music formats, support for OGG encoding real-time recording
  • SPI interface, the control signal lines are led out
  • A headphone and stereo output
  • A microphone for recording
  • A line_in input interface
  • Power indicator
  • 3.3V and 2.8V of LDO chip AMS-1117 on board, provides up to 800mA current
  • A single power supply: +5 VDC
  • 12.288 Mhz crystal
  • TF card slot

Decodes formats

  • Ogg Vorbis
  • MP3 = MPEG 1 & 2 audio layer III (CBR+VBR+ABR)
  • MP1 & MP2 = MPEG 1 & 2 audio layers I & II optional
  • MPEG4 / 2 AAC-LC(+PNS), HE-AAC v2 (Level 3) (SBR + PS)
  • WMA4.0/4.1/7/8/9 all profiles (5-384 kbps)
  • FLAC lossless audio with software plugin (upto 24 bits, 48 kHz)
  • WAV (PCM + IMA ADPCM)
  • General MIDI 1 / SP-MIDI format 0

Encodes formats from mic/line

  • Ogg Vorbis with software plugin
  • IMA ADPCM
  • 16-bit PCM

Document


VS1053-sch.jpg
Wring ของบอร์ด กับ arduino uno
ผมลองล่ะ Micro Sd card 4gb ใช้งานได้ 16gb ก็น่าจะได้ไม่ลอง ลองดูนะครับ อิอิอิ
สำหรับตัว library สามารถโหลดได้จากเว็ปนี้เลยนะครับ
http://www.geeetech.com/wiki/index.php/File:MP3-TF.zip

ซึ่งใช้กับ arduino รุ่น 1.0.5 R2 ได้ปกติ คือรุ่น1.0.X ใช้งานได้ครับ
พวกรุ่น 1.5.x มันจะมี error: variable 'bitrate_table' must be const in order to be put into read-only section by means of '__attribute__((progmem))'
 PROGMEM uint16_t bitrate_table[15][6] = {
                                     ^
Error compiling.

เหมือน avr-gcc ไม่รองรับอะไรซะอย่างนี่แหละ อย่างรู้เพิ่มเติมลองหาให้อากูดูครับ แหะๆ 

สำหรับโค้ด ก็ตามนี่ครับ 
/**************************************
*
*  Example for Sparkfun MP3 Shield Library
*      By: Bill Porter
*      www.billporter.info
*
*   Function:
*      This sketch listens for commands from a serial terminal (like the Serial Monitor in 
*      the Arduino IDE). If it sees 1-9 it will try to play an MP3 file named track00x.mp3
*      where x is a number from 1 to 9. For eaxmple, pressing 2 will play 'track002.mp3'.
*      A lowe case 's' will stop playing the mp3.
*      'f' will play an MP3 by calling it by it's filename as opposed to a track number. 
*
*      Sketch assumes you have MP3 files with filenames like 
*      "track001.mp3", "track002.mp3", etc on an SD card loaded into the shield. 
*
***************************************/

#include

//Add the SdFat Libraries
#include
#include  

//and the MP3 Shield Library
#include

//create and name the library object
SFEMP3Shield MP3player;
SdFat sd;
SdFile file;

byte temp;
byte result;

char title[30];
char artist[30];
char album[30];


void setup() {

  Serial.begin(115200);
  
   result = sd.begin(SD_SEL, SPI_HALF_SPEED);
  
  //boot up the MP3 Player Shield
  result = MP3player.begin();
  //check result, see readme for error codes.
  if(result != 0) {
    Serial.print("Error code: ");
    Serial.print(result);
    Serial.println(" when trying to start MP3 player");
    }

  Serial.println("Hello");
  Serial.println("Send a number 1-9 to play a track or s to stop playing");
  
}

void loop() {
  
  if(Serial.available()){
    temp = Serial.read();
    
    Serial.print("Received command: ");
    Serial.write(temp);
    Serial.println(" ");
    
    //if s, stop the current track
    if (temp == 's') {
      MP3player.stopTrack();
    }
      
    else if (temp >= '1' && temp <= '9'){
      //convert ascii numbers to real numbers
      temp = temp - 48;
      
      //tell the MP3 Shield to play a track
      result = MP3player.playTrack(temp);
      
      //check result, see readme for error codes.
      if(result != 0) {
        Serial.print("Error code: ");
        Serial.print(result);
        Serial.println(" when trying to play track");
        }
      
      Serial.println("Playing:");
      
      //we can get track info by using the following functions and arguments
      //the functions will extract the requested information, and put it in the array we pass in  
      MP3player.trackTitle((char*)&title);
      MP3player.trackArtist((char*)&artist);
      MP3player.trackAlbum((char*)&album);
      
      //print out the arrays of track information
      Serial.write((byte*)&title, 30);
      Serial.println();
      Serial.print("by:  ");
      Serial.write((byte*)&artist, 30);
      Serial.println();
      Serial.print("Album:  ");
      Serial.write((byte*)&album, 30);
      Serial.println();
      
      }
    
    /* Alterativly, you could call a track by it's file name by using playMP3(filename); 
       But you must stick to 8.1 filenames, only 8 characters long, and 3 for the extension */
    
    else if (temp == 'f') {
      //create a string with the filename
      char trackName[] = "track001.mp3";
//      char trackName[] = "1.mp3";
      
      //tell the MP3 Shield to play that file
      result = MP3player.playMP3(trackName);
      
      //check result, see readme for error codes.
      if(result != 0) {
        Serial.print("Error code: ");
        Serial.print(result);
        Serial.println(" when trying to play track");
        }
      }
      
  }
  
  delay(100);
  
}

ลองเอาไปเล่นดูนะครับ มีติดปัญหาอะไรถามมาได้เลยนะครับ เพื่อช่วยท่านได้หรือป่าว 
ขอบคุณที่อ่านนะครับ บทความเขียนงงนิดหน่อยนะ ดึกๆแล้ว



วันเสาร์ที่ 11 เมษายน พ.ศ. 2558

รับเขียนโปรแกรม Android C# Arduino
ติดต่อ ต้อม 0804224466

วันเสาร์ที่ 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558

       บอร์ด IOIO (โยโย่) เป็นบอร์ดไมโครคอนโทรลเลอร์ตัวหนี่งที่ถูกสร้างขึ้นโดยฝีมือของ YTAI Ben-Tsvi (ชื่ออ่านว่า อีทาย) ซึ่งเป็นวิศวกรชาวอิสราเอลของบริษัท Google นั่นเอง
วันนี้จะมานำเสนอ Project IOIO Android + PIR Motion HC-SR 501 
รูปแสดงเมื่อ HC-SR 501 ตรวจพบการเคลื่อนไหว

อุปกรณ์ที่
  1. บอร์ด IOIO  
  2. bluetooth dongle 
  3. hc-sr  501 
  4. android phone 
  5. power adapter 
การต่อวงจร 
HC-SR 501 กับ บอร์ด IOIO 
http://www.bdspeedytek.com/wp-content/uploads/1.1.jpg

http://www.tpemagazine.com/2009/images/issue36/ioio-q.png


HC-SR 501      <>    บอร์ด IOIO
GND                <>    GND
OUTPUT         <>    PIN38 DigitalInput
VCC                <>    +5V


การทำงาน 
เมื่ออยู่ในสภาวะ ไม่มีการเคลื่อนไหว จะเป็นสีดำ

เมื่อมีการเคลื่อนไหว hc-sr 501 ตรวจจับได้ จะเปลี่ยนสีเป็นสีแดงพร้อมข้อความ Warning!!

project นี้มีการใช้ IOIOService ซึ่งจะตรวจจับการเคลื่อนไหวตลอดเวลา แม้เราไม่เปิดหน้าต่าง application  

วีดีโอการทำงาน

















วันเสาร์ที่ 14 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558

Project กระปุกออมสินอัจฉริยะ สามารถนับจำนวนเหรียญและยอดเงินที่ยอดได้ โดยความสามารถของ project กระปุกออมสินอัจฉริยะ คือ

  • นับเหรียญ 1 บาท
  • นับเหรียญ 5 บาท 
  • และนับเหรียญ 10 บาทได้
รูปกระปุกออมสินยังไม่สมบูรณ์เท่าไร

เมื่อเหรียญลงกระปุกออมสิน จะมีเสียงเพลงบอกว่าลงแล้ว พร้อมแสดงผลผ่านจอ lcd 16x4 

อุปกรณ์ที่ใช้ 
  1.  Arduino UNO R3 SMD 
  2. Power Adapter 9V 1A 
  3.  Pushbutton
  4. เซ็นเซอร์ก้ามปู โฟโต้อิเล็กทริคเซนเซอร์
  5.  จอ LCD 16X4 พร้อม I2C
  6. ตัวต้านทาน 10k
  7. บอร์ด Relay 1 ช่อง Coil 5VDC
  8. บอร์ด Ett Remote MP3 V2.0 
  9. ลำโพงไฟ 5V
  10. สายจั้มเปอร์ 
  11. อุปกรณ์ทำกระปุกออมสิน

ห     หลักการทำงาน
  •       เมื่อใส่เหรียญ 1 บาท จะเหรียญจะผ่านเซ๋นเซอร์เพียงตำแหน่งแรก ตำแหน่งเดียวจึงทำให้รู้ว่าเหรียญนี้เป็นเหรียญ 1 บาท
  •       เมือใส่เหรียญ 5 บาท เหรียญจะผ่านเซ็นเซอร์ก้ามปู 2 ตำแหน่ง จึงทำให้รู้ว่าเหรียญนี้เป็นเหรียญ 5 บาท
  •       เมื่อใส่เหรียญ 10 บาท เหรียญจะผ่านเซ็นเซอร์ก้ามปู 3 ตำแหน่ง จึงทำให้รู้ว่าเหรียญนี้เป็นเหรียญ 10 บาท
  •       และเมื่อเหรียญผ่านเซ็นเซอร์ก้ามปูตำแหน่งที่ 3 จะให้เล่นเพลง และปรับยอดแสดงที่จอ lcd 
  •       สามารถกด reset ได้เมื่อเหรียญเต็มกระปุก 




วันพุธที่ 14 มกราคม พ.ศ. 2558

สายลิ้งค์ PLC Mitsubishi FX ราคา 500 บาท

  • ความยาว 3 เมตร 
  • รองรับ PLC FX1S ,FX1N ,FX3G ,FX3U ,FX3UC
  • รองรับ WINDOWS XP ,7,8 
  • สายสีดำ วัสดุอย่างดี
  • USB to RS422
ติดต่อ 
0804224466 
หรือสั่งซื้อจาก 
http://www.elec2you.com/category/15/plc/%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B9%82%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B8%94-plc 


วันอาทิตย์ที่ 11 มกราคม พ.ศ. 2558

Project ปลั๊กไฟอัจฉริยะ ที่สามารถควบคุมด้วย smart phone พร้อมตั้งเวลาปิดได้
เพื่อเพิ่มความสะดวก สบาย ให้แก่ผู้ใช้งาน ซึ่งเป็นการนำความรู้ด้าน อิเล็กทรอนิกส์ ไฟฟ้า ระบบควบคุมมาประยุกต์ใช้งาน เพื่อให้เกิดการนำเทคโนโลยีมาใช้ในบ้านต่อไป smart home

อุปกรณ์ที่ใช้ 
  1. ปุ่มกดสีแดง 
  2. หลอด led สีเขียว
  3. กล่องอเนกประสงค์ 
  4. สวิตช์ เปิด - ปิด ไฟ
  5. ปลัํกตัวเมีย 
  6. hc-06 bluetooth module
  7. arduino pro mini 5v 16Mhz 
  8. borad relay 
  9. power adapter 5v 
  10. สายไฟ 
คุณสมบัติของ project
  • สามารถ เปิด - ปิด ได้แบบแมลนัว คือ 
    • กรณีปิดอยู่ กดปุ่มสีแดงค้างไว้ 1 วินาที  จะเปิด 
    • กรณีเปิดอยู่ กดปุ่มสีแดงค้างไว้ 1 วินาที จะปิด
  • มีหลอด led แสดงสถานะการจ่ายไฟที่ปลั๊กตัวเมีย
    • สีเขียวติด แสดงว่าจ่ายไฟ
    • สีเขียวดับ แสดงว่าไม่ได้จ่ายไฟ
  • สามารถ เปิด - ปิด ด้วย app android 


  • สมารถตั้งเวลาปิดได้ หน่วยเป็นวินาที
  • มีการแสดงเวลานับถอยหลังได้

หลักการทำงาน

  • มีระบบควบคุมที่ชื่อว่า arduino pro mini  ที่ใช้ในการรับคำสั่งจากปุ่มกดสีแดง พร้อมส่งคำสั่งไปยังวงจรรีเลย์ที่ใช้ในการ เปิด ปิด ไฟ พร้อมทั้งเชื่อมต่อแบบไร้สายโดยใช้เทคโนโลยี bluetooth ระหว่างตัว arduino pro mini กับ android phone ในการรับส่งข้อมูล 
สนใจสอบถามได้ 
080-422-4466 

วันอาทิตย์ที่ 21 ธันวาคม พ.ศ. 2557

Micro Controller , Electronic Module ต่างๆ

เช่นการรับข้อมูลจาก Sensor ต่างๆ เช่น

วัดอุณหภูมิ , ความชื้น , ระยะทาง , หรือ Sensor ใดๆก็ได้ทุกชนิด 

และนำมาบันทึก , ประมวลผล , หรือ แสดงออกทางจอภาพ หรือ LED

ระบบควบคุม ไฟ, มอเตอร์ , 

ตั้งเวลาการทำงาน RTC , DS1307, 1302

ติดต่อ 0804224466 K. ต้อม
หรือ lineid Tom.Pornprasert 



วันพุธที่ 10 ธันวาคม พ.ศ. 2557

คำสั่ง Read Time Clock Control
         เป็นคำสั่งประยุกต์ที่ใช้ในการจัดการข้อมูลการทำงานของเวลา (วัน เดือน ปี ชั่วโมง นาที และวินาที)โดยแสดงค่าข้อมูลเวลา การเปรียบเทียบข้อมูล และการจัดการต่าง ๆ ในรูปของเวลา ซึ่งคำสั่ง Real Time Clock Control  นี้จะสามารถเลือกใช้คำสั่งดังนี้
TCMP = Time Compare ใช้เปรียบเทียบระหว่างค่าเวลาชั่วโมง นาที และวินาทีใน Device
TZCP  = Time Zone Compare ใช้เปรียบเทียบระหว่างค่าเวลาชั่วโมง นาที และวินาทีใน Device โดยจะตั้งค่าช่วงลิมิตเวลาสูงสุด-ต่ำสุด
TADD = Time Add ใช้ในการบวกค่าเวลาของ ชั่วโมง นาที และวินาที
TSUB = Time Subtract ใช้ในการลบค่าเวลาของ ชั่วโมง นาที และวินาที
TRD = Time Read 

ตัวอย่าง TCMP (Time Compare)


อธิบายว่า Real Time Clock ของ PLC จะมี Address D8015 เก็บค่าชั่วโมง D8014 เก็บค่านาที และ D8013 เก็บค่าวินาที ซึ่งค่าของ D8015 ,D8014 และ D8013 จะถูก Move เก็บไว้ที่ D0,D1 และ D2 ตามลำดับ เพื่อนำไปใช้งานอีกที คำสั่ง TCMP เรากำหนดค่าที่ใช้เปรียบเทียบกับ RTC เป็น 12:40:00 ซึ่งจะเห็นว่า
  • ถ้า RTC < 12:40:00   M0 จะ ON 
  • ถ้าค่า RTC = 12:40:00   M1 จะ ON
  • ถ้าค่า RTC > 12:40:00    M2 จะ ON  


วันจันทร์ที่ 8 ธันวาคม พ.ศ. 2557

         เมื่อปี พ.ศ. 2511 ในฝ่าย Hydromatic ของบริษัท General Motors ประเทศสหรัฐอเมริกา ได้คิดค้นอุปกรณ์ควบคุมแบบใหม่เพื่อใช้ทดแทนวงจรไฟฟ้าแบบเดิมที่ใช้กันอยู่ในโรงงานอุตสาหกรรมของบริษัท และในปี พ.ศ. 2512 PLC ได้ถูกผลิตขึ้นจำหน่ายในประเทศสหรัฐอเมริกาเป็นแห่งแรก ส่วนในประเทศญี่ปุ่น PLC ได้ถูกพัฒนาขึ้นภายหลังจากที่บริษัท ออมรอม (OMRON Co.,Ltd) ประเทศญี่ปุ่นประสบความสำเร็จในการผลิตโซลิต-สเตทรีเลย์ (Solid State Relay) ในปี พ.ศ. 2508 หลังจากนั้น 5 ปี PLC ก็ถูกนำออกจำ หน่ายสู่ท้องตลาดจนเป็นที่แพร่หลายในเวลาต่อมา

ประวัติ PLC
ค.ศ.1969
            PLCได้ถูกพัฒนาขึ้นมาครั้งแรกโดย บริษัท Bedford Associates โดยใช้ชื่อว่า Modular Digital Controller(Modicon) ให้กับโรงงานผลิตรถยนต์ในอเมริกาชื่อ General Motors Hydramatic Division บริษัท Allen-Bradley ได้เสนอระบบควบคุมโดยใช้ชื่อว่า PLC

ค.ศ.1970-1979
            ได้มีการพัฒนาให ้PLC มีการประมวลผลที่เร็วมากขึ้นตามการเปลี่ยนแปลงของ Microprocessor ความสามารถในการสื่อสารข้อมูลระหว่าง PLC กับ PLC โดยระบบแรกคือ Modbus ของ Modicon เริ่มมีการใช้อินพุท/เอาท์พุทที่เป็นสัญญาณ Analog

ค.ศ.1980-1989
            มีความพยายามที่จะสร้างมาตรฐานในการสื่อสารข้อมูลของ PLC โดยบริษัท General Motor ได้สร้างโปรโตคอลที่เรียกว่า manufacturing automation protocal (MAP) ขนาดของ PLC ลดลงเรื่อย ๆผลิตซอฟแวร์ที่สามารถโปรแกรม PLC ด้วยภาษา symbolic โดยสามารถโปรแกรมผ่านทาง personal computer แทนที่จะโปรแกรมผ่านทาง handheld หรือ programing terminal

ค.ศ.1990-ปัจัจจุบัน
           ได้มีความพยายามในการที่จะทำให้ภาษาที่ใช้ในการโปรแกรม PLC มีมาตราฐานเดียวกันโดยใช้มาตรฐาน IEC1131-3 สามารถโปรแกรม PLC ได้ด้วย
                    - IL (Instruction List)
                    - LD (Ladder Diagrams)
                    - FBD (Function Block Diagrams)
                    - SFC (Sequential Function Chart)
                    - ST (Structured Text)

วันเสาร์ที่ 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

CC-Link เป็นระบบสื่อสารข้อมูลอย่างหนึ่งของ Mitsubishi ซึ่งไว้ใช้รับส่งข้อมูลของอุปกรณ์ ต่างๆ เข้าหากัน แบบเดียวกับ Profibus,Device-net และ Mod-bus
http://clpa.eu//Portals/57/MMP_Images/CLPA59_CC-Link%20IE%20Control%20diagram.jpg
คุณสมบัติของ CC-LINK
ตัวอย่างเช่น PLC ขนาด 100 I/O ถ้า I/O อยู่ห่างจากตัว PLC 100 เมตร ต้องใช้สายไฟทั้งหมด 100*100 = 10,000 เมตร
ถ้าเราใช้ CC-LINK ใช้สาย 4 เส้น ไปปลายทางที่ตัว I/O ที่เป็นแบบ CC-LINK ได้เลย
ดังนั้นใช้สายน้อยกว่า แต่ตัว I/O แบบ CC-LINK ราคาสูงกว่า I/O แบบธรรมดา ดังนั้นต้องชั่งน้ำหนักดูว่า ลดต้นทุนสายลงกับราคาตัว I/O ที่เพิ่มขึ้นจุดคุ้มทุนอยู่ที่ไหน
http://www.tkkcorporation.com/images/mitsubishi/fr-a700_cc_link.png
ตารางสเปก CC-LINK V.1.0 กับ V.2.0
http://www.cclinkamerica.org/eprise/main/SiteGen/clpa/Content/cc-link/Specifications/Spec_Table.html
ตารางความยาวของสาย
http://www.cclinkamerica.org/SiteGen/Uploads/Public/clpa/images/CC-Link/CC-Link_Cable-Lengths.JPG



วันพฤหัสบดีที่ 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557


บอร์ด Arduino MEGA 2560 R3  ราคา 500 บาท 
Overview
The Arduino Mega 2560 is a microcontroller board based on the ATmega2560 (datasheet). It has 54 digital input/output pins (of which 14 can be used as PWM outputs), 16 analog inputs, 4 UARTs (hardware serial ports), a 16 MHz crystal oscillator, a USB connection, a power jack, an ICSP header, and a reset button. It contains everything needed to support the microcontroller; simply connect it to a computer with a USB cable or power it with a AC-to-DC adapter or battery to get started. The Mega is compatible with most shields designed for the Arduino Duemilanove or Diecimila.
Features:
  • Microcontroller                                        ATmega2560
  • Operating                                                 Voltage 5V
  • Input Voltage (recommended)             7-12V
  • Input Voltage (limits)                              6-15V
  • Digital I/O Pins                                         54 (of which 15 provide PWM output)
  • Analog Input Pins                                    16
  • DC Current per I/O Pin                           40 mA
  • DC Current for 3.3V Pin                          50 mA
  • Flash Memory                                           256 KB of which 8 KB used by bootloader
  • SRAM                                                         8 KB
  • EEPROM                                                   4 KB
  • Clock Speed                                             16 MHz
  • For more information please visit to http://arduino.cc/en/Main/ArduinoBoardMega2560  

สั่งซื้อ